ภูเขา ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึง เนินที่สูงขึ้นไป เป็นจอมเด่นหรือเป็นเขาขนาดใหญ่ และสูงโดยแต่ละภาค มักจะมีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน ได้แก่ ภาคเหนือเรียกว่า "ดอย" อาทิ ดอยสุเทพ ดอยอินทนนท์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกว่า "ภู" อาทิ ภูกระดึง ภูหลวง ส่วนทางภาคใต้เรียกว่า "เขา" เช่น เขาหลวง และเขานางหงส์ เป็นต้น
ภูเขา ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึง เนินที่สูงขึ้นไป เป็นจอมเด่นหรือเป็นเขาขนาดใหญ่ และสูงโดยแต่ละภาค มักจะมีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน ได้แก่ ภาคเหนือเรียกว่า "ดอย" อาทิ ดอยสุเทพ ดอยอินทนนท์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกว่า "ภู" อาทิ ภูกระดึง ภูหลวง ส่วนทางภาคใต้เรียกว่า "เขา" เช่น เขาหลวง และเขานางหงส์ เป็นต้น
ภูเขา ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึง เนินที่สูงขึ้นไป เป็นจอมเด่นหรือเป็นเขาขนาดใหญ่ และสูงโดยแต่ละภาค มักจะมีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน ได้แก่ ภาคเหนือเรียกว่า "ดอย" อาทิ ดอยสุเทพ ดอยอินทนนท์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกว่า "ภู" อาทิ ภูกระดึง ภูหลวง ส่วนทางภาคใต้เรียกว่า "เขา" เช่น เขาหลวง และเขานางหงส์ เป็นต้น
ภูเขา ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึง เนินที่สูงขึ้นไป เป็นจอมเด่นหรือเป็นเขาขนาดใหญ่ และสูงโดยแต่ละภาค มักจะมีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน ได้แก่ ภาคเหนือเรียกว่า "ดอย" อาทิ ดอยสุเทพ ดอยอินทนนท์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกว่า "ภู" อาทิ ภูกระดึง ภูหลวง ส่วนทางภาคใต้เรียกว่า "เขา" เช่น เขาหลวง และเขานางหงส์ เป็นต้น
ภูเขา ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึง เนินที่สูงขึ้นไป เป็นจอมเด่นหรือเป็นเขาขนาดใหญ่ และสูงโดยแต่ละภาค มักจะมีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน ได้แก่ ภาคเหนือเรียกว่า "ดอย" อาทิ ดอยสุเทพ ดอยอินทนนท์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียกว่า "ภู" อาทิ ภูกระดึง ภูหลวง ส่วนทางภาคใต้เรียกว่า "เขา" เช่น เขาหลวง และเขานางหงส์ เป็นต้น